Medical Microbiology: practical approach

Medical Microbiology:  practical approach
คลิ๊กเพื่อดูรูปใหญ่
หนังสืออนุมัติโครงการ : ดาวน์โหลด
หนังสือเชิญประชุม : ดาวน์โหลด
โครงการ : ดาวน์โหลด
กำหนดการ : ดาวน์โหลด
ใบลงทะเบียน : ดาวน์โหลด
รับจำนวน : 100 คน
ที่ว่างคงเหลือ : 100 คน
หน่วยงานผู้จัด: พยาธิวิทยา
สถานที่จัด : ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา ภาควิชาพยาธิวิทยา
วันที่จัดประชุม : กุมภาพันธ์ - กันยายน 2557

เนื้อหาหลักสูตร
-  Aerebic bacteria and antimicrobial susceptibility test  (รหัส AA)

-  Mycobacteria  (รหัส MB)
-  Medical myco;ogy (yeast and mould)  (รหัส MM)

อัตราค่าลงทะเบียน

รหัสหัวข้อ

ค่าลงทะเบียน (ท่านละ 3,000 บาท / เรื่อง / สัปดาห์)

1 สัปดาห์

2 สัปดาห์

3 สัปดาห์

4 สัปดาห์

AA

/

/

/

/

MB

X


/

/

MM

X

/

/

/

หมายเหตุ :     -       X   ไม่เปิดการจัดอบรมในระยะเวลานั้น

-       สัปดาห์ = 5 วันทำการปกติ (ไม่นับรวมวันหยุดราชการ)

-       ภาคเช้า 9.00 – 12.00 น. ภาคบ่าย 13.00 – 15.00 น.

หัวข้อ Aerebic bacteria and antimicrobial susceptibility test (รหัส AA):
กรุณาเลือกข้อมูลเบื้องต้นก่อนคลิกปุ่มลงทะเบียน




หัวข้่อ Mycobacteria (รหัส MB):
กรุณาเลือกข้อมูลเบื้องต้นก่อนคลิกปุ่มลงทะเบียน



หัวข้อ Medical mycology (yeast and mould) (รหัส MM):
กรุณาเลือกข้อมูลเบื้องต้นก่อนคลิกปุ่มลงทะเบียน



กรุณาเลือกวันที่
รหัส AA: ถึง
รหัส MB: ถึง
รหัส MM: ถึง

          เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่า ปัญหาหลักของการสาธารณสุขของประเทศด้านหนึ่ง คือปัญหาโรคติดเชื้อ ที่ครอบคลุมเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา เชื้อไวรัส รวมถึงปรสิตต่างๆ ซึ่งในการวิวัฒนาการของเชื้อก่อโรคเหล่านี้มีความรวดเร็วเท่าทันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีด้านการแพทย์ ดังที่จะเห็นได้จากการเกิดขึ้นของเชื้อก่อโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ ดังนั้น ผู้ที่ปฎิบัติงานด้านจุลชีววิทยาการแพทย์ในห้องปฎิบัติการของสถานพยาบาลต่าง ๆ จำเป็นที่จะต้องเพิ่มพูนความรู้ทั้งในส่วนของทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อให้กระบวนการวินิจฉัยเชื้อก่อโรคต่าง ๆ ทางห้องปฏิบัติการเป็นไปอย่างถูกต้องรวดเร็ว อันจะมีส่วนช่วยให้แพทย์พิจารณาเลือกวิธีการรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด


          ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา ภาควิชาพยาธิวิทยา เล็งเห็นถึงความสำคัญในการที่จะเพิ่มศักยภาพของบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านจุลชีววิทยาการแพทย์ จึงจัดให้มีการฝึกอบรมการปฏิบัติงานจุลชีววิทยาการแพทย์ ที่ครอบคลุมกระบวนการตั้งแต่การรับสิ่งส่งตรวจ การตรวจวิเคราะห์วินิจฉัยเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อราก่อโรค การทดสอบความไวต่อสารต้านจุลชีพ การตรวจวิเคราะห์ด้วยวิธี และการรายงานผลโดยการฝึกอบรมนี้จะเน้นการฝึกอบรมแบบรายบุคคล และระยะเวลาการฝึกอบรมนั้นมีความยืดหยุ่นตามความต้องการของผู้เข้ารับการอบรม ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้เข้ารับการอบรมที่จะได้รับความรู้และประสบการณ์ที่สามารถนำไปประยุกต์กับงานได้โดยตรง

Provided by ACADEMICRAMA