Longitudinal data analysis
คลิ๊กเพื่อดูรูปใหญ่ |
|
ในปัจจุบันงานวิจัยทางการแพทย์ มีรูปแบการวิจัยที่ซับซ้อนมากขึ้นเรื่อยๆ และบนความซับซ้อนนี้ ต้องการสถิติชั้นสูงในการวิเคราะห์ข้อมูล จึงจะทำให้การนำเสนอผลงานนั้นมีประโยชน์ และนำไปประยุกต์ใช้ในเวชปฏิบัติได้ ลักษณะของข้อมูลในงานวิจัยทางการแพทย์ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลกลุ่ม (categorical data)และเป็นข้อมูลที่เป็นช่วงเวลากับเหตุการณ์ (time to event) ซึ่งสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเหล่านี้คือ Logistic regression, Survival analysisและ Longitudinal data analysis ตามลำดับ
การวิเคราะห์ Logistic regression มีขั้นตอนที่ซับซ้อนแต่ไม่ยากถ้าผู้วิเคราะห์เข้าใจหลักการของสถิติตัวนี้ ประโยชน์ที่ถูกนำมาใช้บ่อยมากขึ้นคือการสร้างสมการทำนายการเกิดโรค ที่เรียกว่า Prediction score model ซึ่งเป็นเครื่องมือที่มีการใช้อย่างแพร่หลายในเวชปฏิบัติ ในการทำนายการเกิดโรค หรือผลกระทบจากการเกิดเหตุการณ์นั้นๆ เช่น A simplified prediction score for sleep apnea, Prediction score model for neonatal sepsis, prediction score model for osteoporosis, Prediction score model for mortality in major trauma และอื่นๆอีกมากมายใน Literatures
ลักษณะการดำเนินการของโรค เมื่อเกิดขึ้นแล้ว จะสามารถบอกได้ดีโดยการวิเคราะห์แบบ Time to event analysis หรือ Survival analysis นั้นเอง เช่น Disease prognosis after treatment in breast cancer, time to remission after treatment, probability of survival at 2, 5 years after diagnosis, etc. การวิเคราะห์แบบนี้มี Pitfalls ที่ควรตระหนักมากมาย ที่ผู้วิเคราะห์หรือผู้ใช้ข้อมูลควรรู้ จึงจะเกิดประโยชน์ต่องานวิจัยนั้นๆ
กลุ่มสาขาระบาดวิทยาคลินิกและชีวสถิติ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี จึงได้จัดให้มีการอบรมระยะสั้นให้แก่ผู้วิจัยทางการแพทย์ทั่วไปที่สนใจ โดยการฝึกอบรมนี้จะเป็นการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติ ที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลจริงจากงานวิจัย
ความคิดเห็น: หมายเหตุ: HTML จะไม่แสดงผล!
ให้คะแนน: แย่ ดี
พิมพ์รหัสป้องกันสแปม:
แนะนำห้องพักสำหรับผู้เข้าร่วมประชุม
ลำดับ |
โรงแรม |
1. |
โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค กรุงเทพฯ |
|
Superior single +twin (รวมอาหารเช้า) 1,400 บาท |
|
โทร.02-2900125 |
|
|
2. |
โรงแรมแกรนด์ ทาวเวอร์อิน |
|
Superior single (รวมอาหารเช้า) 1,100 บาท |
|
Superior twin (รวมอาหารเช้า) 1,200 บาท |
|
โทร.02-618-2683 หรือ 081-334-1528 |
|
|
3. |
โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค (อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ) |
|
Superior single (รวมอาหารเช้า) 1,500 บาท |
|
Superior twin (รวมอาหารเช้า) 1,600 บาท |
|
โทร.02-246-7800 มือถือ 081-867-4615 |
|
|
4. |
โรงแรมสยามซิตี้ (ถนนศรีอยุธยา) |
|
Deluxe single (รวมอาหารเช้า) 2,000 บาท |
|
Deluxe twin (รวมอาหารเช้า) 2,200 บาท |
|
โทร.02-247-0123 มือถือ 081-916-6535 |
|
|
5. |
โรงแรมปริ๊นพาเลซ มหานาค |
|
Superior single (รวมอาหารเช้า) 1,300 บาท |
Superior twin (รวมอาหารเช้า) 1,500 บาท | |
6. |
โรงแรมมณเฑียรกรุงเทพฯ |
|
Single room (รวมอาหารเช้า) 1,500 บาท |
|
Twin room (รวมอาหารเช้า) 1,900 บาท |
|
โทร.02-233-7060 มือถือ 081-8999106 |
|
|
7. |
โรงแรมออลซีซันส์ กรุงเทพ |
|
Single room (รวมอาหารเช้า) 1,200 บาท |
|
Twin room (รวมอาหารเช้า) 1,400 บาท |
|
โทร.02-308-7888 มือถือ 081-8438228 |
หมายเหตุ : กรุณาติดต่อรายละเอียดกับทางโรงแรมด้วยตนเองและแจ้งกับทางโรงแรมว่ามาเข้าร่วมประชุมกับทางคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี