การปฏิบัติการวิจัยทางคลินิกที่ดี Good Clinical Practice (GCP)

การปฏิบัติการวิจัยทางคลินิกที่ดี Good Clinical Practice (GCP)
คลิ๊กเพื่อดูรูปใหญ่
หนังสืออนุมัติโครงการ : ดาวน์โหลด
หนังสือเชิญประชุม : ดาวน์โหลด
โครงการ : ดาวน์โหลด
กำหนดการ : ดาวน์โหลด
ใบลงทะเบียน : ดาวน์โหลด
ค่าลงทะเบียน : 2,500.00บาท
รับจำนวน : 70 คน
ที่ว่างคงเหลือ : 51 คน
หน่วยงานผู้จัด: สำนักงานวิจัยคณะฯ
สถานที่จัด : ห้อง 907 ชั้น 9 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมด้านการแพทย์
วันที่จัดประชุม : 1 2 สิงหาคม 2567

ค่าลงทะเบียน คนละ 2,500 บาท

กรุณาเลือกข้อมูลเบื้องต้นก่อนคลิกปุ่มลงทะเบียน
ประเภทลงทะเบียน:
ช่องทางการอบรม:
ลงทะเบียน หากต้องการเลือกรายการลงทะเบียนใหม่ ให้รีเฟรชหน้าเว็บไซต์ใหม่

          ปัจจุบันการศึกษาวิจัยทางคลินิกมีอัตราขยายตัวและเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ได้ให้ความสาคัญกับงานวิจัยที่เกิดขึ้น ซึ่งถือเป็นพันธกิจหลักของคณะฯ เพื่อสร้างความรู้ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ เพื่อตอบสนองความต้องของของประเทศ ดังนั้นจึงต้องมีการพัฒนาโครงสร้างและมาตรฐานของงานวิจัยทางคลินิกให้เป็นมาตรฐานสากล ซึ่งกระบวนการวิจัยนั้นมีความจาเป็นต้องมีการพัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ทั้งนี้แพทย์ พยาบาล และบุคลากรที่ทางานเกี่ยวกับการวิจัยจึงต้องทราบถึงระเบียบวิธีการ แบบแผน และการดาเนินงานวิจัย ตลอดจนการปฏิบัติการวิจัยทางคลินิกที่ดี Good Clinical Practice (GCP) เพื่อให้การศึกษางานวิจัยได้ข้อมูลการวิจัยที่ถูกต้อง ได้มาตรฐาน และคานึงถึงสิทธิ ความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดีของอาสาสมัครที่เข้าร่วมการวิจัยทางคลินิก

          หน่วยวิจัยทางคลินิก งานสนับสนุนการวิจัยทางคลินิก สานักงานวิจัย วิชาการและนวัตกรรม คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ตระหนักถึงความสาคัญนี้ จึงได้จัดโครงการฝึกอบรมเรื่อง“การปฏิบัติการวิจัยทางคลินิกที่ดี Good Clinical Practice (GCP)” เพื่อเผยแพร่ เพิ่มพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์และทักษะในการดาเนินงานวิจัยทางคลินิกตามมาตรฐานการปฏิบัติการวิจัยทางคลินิกที่ดี ให้แก่แพทย์ พยาบาล นักวิจัย และบุคลากรทางการแพทย์ทุกสาขา ให้การดาเนินโครงการวิจัยเป็นไปตามหลักการการปฏิบัติการวิจัยทางคลินิกที่ดี Good Clinical Practice (GCP) เป็นการรับประกันว่า สิทธิ ความปลอดภัย และความเป็นอยู่ที่ดีของอาสาสมัครได้รับการคุ้มครองซึ่งนับเป็นหัวใจสาคัญของการศึกษาวิจัยทางคลินิก และรับประกันว่าข้อมูลจากการวิจัย น่าเชื่อถือและสามารถอ้างอิงในระดับมาตรฐานวิชาชีพได้ เพื่อให้เกิดกระบวนการพัฒนาวิธีการดาเนินการศึกษาวิจัยทางคลินิกได้อย่างมีคุณภาพต่อไป

เขียนคำวิจารณ์
ชื่อของคุณ:


ความคิดเห็น: หมายเหตุ: HTML จะไม่แสดงผล!

ให้คะแนน: แย่            ดี

พิมพ์รหัสป้องกันสแปม:

ไม่มีรูปภาพเพิ่มเติมใด ๆ สำหรับงานประชุมนี้.
Tags: Practice,

Provided by ACADEMICRAMA